D-HOUSE คือ นักวิจัย: นักวิจัย กลุ่มโครงการ PPP ประชารัฐ ภาคเอกชน ประธาน คือ ดร.สมัย เหมมั่น บริหารสินทรัพย์ DHG โครงการ อุตสาหกรรมเมืองมหาชัย กลุ่ม อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด
ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ก้าวสู่ “สังคมคนชรา” ทำให้ภาคธุรกิจเอกชนเห็นโอกาสในการ ขยายตลาดสินค้าและบริการ ในปี 2556เป็นต้นมา
ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ก้าวสู่ “สังคมคนชรา” ทำให้ภาคธุรกิจเอกชนเห็นโอกาสในการ ขยายตลาดสินค้าและบริการ ในปี 2556เป็นต้นมา
ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ก้าวสู่ “สังคมคนชรา” ทำให้ภาคธุรกิจเอกชนเห็นโอกาสในการ ขยายตลาดสินค้าและบริการ ในปี 2556เป็นต้นมา
ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ก้าวสู่ “สังคมคนชรา” ทำให้ภาคธุรกิจเอกชนเห็นโอกาสในการ ขยายตลาดสินค้าและบริการ ในปี 2556เป็นต้นมา
ประเทศญี่ปุ่น
ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่ก้าวสู่ “สังคมคนชรา” ทำให้ภาคธุรกิจเอกชนเห็นโอกาสในการ ขยายตลาดสินค้าและบริการ ในปี 2556เป็นต้นมา
ธุรกิจดูแลผู้สูงอายุในญี่ปุ่นโดยรวม มีมูลค่าสูงถึง 8 ล้านล้านเยน หรือประมาณ 2.56 ล้านล้านบาท มีการเติบโตเฉลี่ย 5 ปีย้อนหลังถึง 10% รายได้ต่อปีเฉลี่ย 4.54 ล้านล้านเยน หรือประมาณ 1.452 ล้านล้านบาท ก าไรเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 โดยมีผู้ให้บริการด้านนี้มากถึง 500-600 บริษัทที่หันมาจับธุรกิจสร้างบ้านพักเพื่อดูแลคนสูงวัยในช่วงบั้นปลายของชีวิตอย่างจริงจัง43 แม้จ านวน โครงการที่อยู่อาศัยของผู้สูงอายุมีจ านวนมากในประเทศญี่ปุ่น และมีบริษัทที่ท าธุรกิจโครงการที่อยู่อาศัย เกิดขึ้นใหม่ค่อนข้างเยอะ แต่จะเห็นว่ายังไม่เพียงพอกับความต้องการของผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา และแนวโน้มระยะต่อจากนี้จ านวนผู้สูงอายุจะยังเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และเพื่อเป็นการ ช่วยเหลือผู้สูงอายุที่จะเพิ่มมากขึ้นในอนาคต จึงอยากจะเสนอให้ภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้สูงอายุ ด าเนิน นโยบายการดูแลผู้สูงอายุไปในทิศทางเดียวกันทั้ง 3 ส่วน โดยเฉพาะภาครัฐและเอกชนน่าจะมีความ ร่วมมือกันจัดตั้งสถานที่ดูแลผู้สูงอายุ จะช่วยลดค่าใช้จ่ายที่ผู้สูงอายุจะต้องเสียให้ถูกลง และภาคเอกชน ช่วยด าเนินการสถานที่ให้ เพราะปัจจุบันภาครัฐจะช่วยอ านวยความสะดวกในเรื่องของการเบิกค่าใช้จ่าย บ้างส่วนในเรื่องของบ านาญเท่านั้น44 ส าหรับประเทศญี่ปุ่นซึ่งเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ได้สร้างหลักประกันให้กับคนในประเทศหลายชั้น ทั้งนายคูโรสุ และนายสมโพชน์ได้ร่วมกันให้ข้อมูลว่า รัฐบาลญี่ปุ่นใส่ใจกับสวัสดิภาพของประชาชนใน ประเทศเป็นอย่างดี โดยมีทั้งกองทุนประกันสังคม กองทุนบ านาญแห่งชาติ โดยก าหนดการจ่ายเงินสมทบ ของกองทุนบ านาญแห่งชาติตามอายุ โดยในวงเงิน 100% คนญี่ปุ่นอายุ 40-64 ปี ต้องจ่ายเงินสมทบเข้า กองทุนบ านาญประมาณร้อยละ 29 อายุ 65 ปีขึ้นไปต้องจ่าย 21% หรือประมาณ 1,347 บาท/เดือน และ อีกร้อยละ 50 รัฐบาลจะเป็นผู้จ่ายเงินสมทบ โดยเงินส่วนนี้หลังเกษียณคนญี่ปุ่นจะมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน ประมาณ 30,000 บาท จากกองทุนบ านาญ และหากรวมกับกองทุนส ารองเลี้ยงชีพ และประกันบ านาญที่ ซื้อไว้ด้วยอาจจะมีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 100,000 บาททีเดียว นอกจากนี้ ยังมีกองทุนให้กับผู้สูงอายุที่ไม่ สามารถช่วยเหลือตัวเองได้อีกหนึ่งคือ กองทุน Long Term Care โดยบังคับให้ผู้มีรายได้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้น ไป จะต้องจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนนี้ จะได้รับการดูแลจากภาครัฐด้วยการประเมินจากความสามารถใน การดูแลตัวเอง ก่อนส่งเข้าไปยังสถานดูแลคนชราที่ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ที่มีอยู่กว่า 5,000 แห่ง ทั่วประเทศ นอกเหนือจากนี้ คนญี่ปุ่นจ านวนมากยังเลือกซื้อประกันชีวิต แบบที่สามารถใช้ชีวิตยืนยาว อย่างมั่นคง และเข้าถึงระบบรักษาพยาบาลได้มากขึ้น เงินจ านวนมากที่คนญี่ปุ่นสะสมไว้หลายทาง จึงเป็น หนทางให้เกิดธุรกิจดูแลผู้สูงอายุขึ้นมา45
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น