D-HOUSE คือ นักวิจัย: นักวิจัย กลุ่มโครงการ PPP ประชารัฐ ภาคเอกชน ประธาน คือ ดร.สมัย เหมมั่น บริหารสินทรัพย์ DHG โครงการ อุตสาหกรรมเมืองมหาชัย กลุ่ม อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด
รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของศาสนสถานประจําอโรคยาศาล
รูปแบบทางสถาปัตยกรรมของศาสนสถานประจําอโรคยาศาล
ส่วนพ้ืนท่ีรักษาพยาบาลนั้นพบว่า มีจํานวนเจ้าหน้าที่ประจํา
โรงพยาบาลที่แตกต่างกันตามขนาดของโรงพยาบาล จากจารึกที่เกี่ยวข้องกับ
อโรคยาศาลที่พบประมาณ 14 แห่ง ระบุจํานวนของเจ้าหน้าที่ไม่เท่ากัน เช่น
จํานวน 98 คน พบท่ีกุฏิฤาษีเมืองพิมาย ที่ถือว่ามีจํานวนเจ้าหน้าที่ท่ีมาก
เทียบเท่ากับที่เมืองพระนครหลวง และจํานวนเจ้าหน้าที่ 50 คน ระบุไว้ที่
จารึกปราสาท ตาเหมือนโต๊จ จังหวัดสุรินทร์ซึ่งถือว่ามีขนาดไม่ใหญ่นัก
10
จึงสันนิษฐานได้ว่าจํานวนเจ้าหน้าที่ในอโรคยาศาลนั้นจะแปรผันไปตาม
ขนาดของโรงพยาบาลที่ไม่เท่ากันและตามขอบเขตให้บริการในแต่ชุมชน
11
นอกจากนี้อโรคยาศาลยังเป็นศูนย์รวมของคนในชุมชนใกล้เคียง โดยเป็น
56 | หน้าจั่ว ฉ. 12 2558
สถานที่รับบริจาคสิ่งของและยา โดยผ่านการถวายแด่พระโพธิสัตว์ไภษัชยคุรุ
ภายในศาสนสถาน และ
พระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 ก็ได้พระราชทานสิ่งของต่างๆ
ที่จําเป็นต่อการดํารงอยู่ของอโรคยาศาล เช่น ข้าวสาร เดือนละ 1,000 ตัน
สมุนไพรรักษาโรคและสิ่งของต่างๆ ที่จําเป็น 36 รายการ ปีละ 3 คร้ัง เป็นต้น
ที่ในจารึกประจาอโรคยาศาลระบ ํ ุคําว่า สุคตาลัย ท่ีแปลว่า ศาสนสถาน จึง
ออกแบบให้มีความสัมพันธ์เชิงความคิดที่เกี่ยวข้องกับการบูชาเทพที่เกี่ยวข้อง
ในการรักษาพยาบาล โดยจะประกอบไปด้วยปราสาทประธานอันเป็นที่
ประดิษฐานพระไภษัชยคุรุและพระชิโนรสท้ังสอง มีบรรณาลัยต้ังอยู่ทางด้าน
ทิศตะวันออกเฉียงใต้ของปราสาทประธาน ประดิษฐานรูปพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร และเทพชั้นรองพระยมทรงกระบือ พระวัชรปาณีทรงครุฑ กําแพง
แก้วล้อมรอบอาคารทั้งสอง โคปุระหรือทางเข้าเพียงแห่งเดียวทางด้านทิศ
ตะวันออก แบ่งพื้นที่ออกเป็น 3 ห้อง ห้องโถงกลางมีขนาดใหญ่ที่สุดใช้เป็นที่
ประดิษฐานพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวรประทับยืน และใช้เป็นทางเข้าออกเชื่อม
สู่พื้นที่ภายใน ในส่วนห้องโถงอีก 2 ห้องภายในโคปุระนั้นจะมีลักษณะเป็น
ห้องเล็กๆ ใช้เป็นที่ประดิษฐานเทพชั้นรองต่างๆ
ในส่วนพ้ืนท่ีรักษาพยาบาลนั้นพบว่า มีจํานวนเจ้าหน้าที่ประจํา
โรงพยาบาลที่แตกต่างกันตามขนาดของโรงพยาบาล จากจารึกที่เกี่ยวข้องกับ
อโรคยาศาลที่พบประมาณ 14 แห่ง ระบุจํานวนของเจ้าหน้าที่ไม่เท่ากัน เช่น
จํานวน 98 คน พบท่ีกุฏิฤาษีเมืองพิมาย ที่ถือว่ามีจํานวนเจ้าหน้าที่ท่ีมาก
เทียบเท่ากับที่เมืองพระนครหลวง และจํานวนเจ้าหน้าที่ 50 คน ระบุไว้ที่
จารึกปราสาท ตาเหมือนโต๊จ จังหวัดสุรินทร์ซึ่งถือว่ามีขนาดไม่ใหญ่นัก
10
จึงสันนิษฐานได้ว่าจํานวนเจ้าหน้าที่ในอโรคยาศาลนั้นจะแปรผันไปตาม
ขนาดของโรงพยาบาลที่ไม่เท่ากันและตามขอบเขตให้บริการในแต่ชุมชน
11
นอกจากนี้อโรคยาศาลยังเป็นศูนย์รวมของคนในชุมชนใกล้เคียง โดยเป็น
56 | หน้าจั่ว ฉ. 12 2558
สถานที่รับบริจาคสิ่งของและยา โดยผ่านการถวายแด่พระโพธิสัตว์ไภษัชยคุรุ
ภายในศาสนสถาน และพระเจ้าชัยวรมันท่ี 7 ก็ได้พระราชทานสิ่งของต่างๆ
ที่จําเป็นต่อการดํารงอยู่ของอโรคยาศาล เช่น ข้าวสาร เดือนละ 1,000 ตัน
สมุนไพรรักษาโรคและสิ่งของต่างๆ ที่จําเป็น 36 รายการ ปีละ 3 คร้ัง เป็นต้น
12
ส่วนอาคารรักษาพยาบาลอื่นๆ เช่น เรือนนอน บ้านพักเจ้าหน้าที่ใน
โรงพยาบาล เรือนปรุง และเรือนเก็บยา ส่วนที่รักษาพยาบาลสันนิษฐานว่า
ตั้งไว้ด้านนอกศาสนสถาน เป็นอาคารที่สร้างขึ้นด้วยโครงสร้างไม้จึงไม่ปรากฏ
หลงเหลือให้เห็นในปัจจุบัน จากการศึกษาพบว่าสระน้ําศักดิ์สิทธิ์ประจํา
อโรคยาศาลถือเป็นหนึ่งในพื้นที่ส่วนรักษาพยาบาล ตําแหน่งที่ตั้งจะอยู่บริเวณ
ทิศตะวันออกเฉียงเหนือของศาสนสถานประจําอโรคยาศาล พบว่าเป็นบ่อน้ํา
ที่มีการกรุขอบบ่อด้วยศิลาแลง โดยแต่ละแห่งจะมีขนาดและความลึกของบ่อ
ที่แตกต่างกันออกไป จากบันทึกโจวต้ากวาน ชาวจีนที่บันทึกเรื่องราวเกี่ยวกับ
วิถีชีวิตของชาวขอมในช่วงเวลาพุทธศตวรรษที่ 19 ได้กล่าวถึงการรักษาโรค
ด้วยน้ําศักด์ิสิทธิ์นี้ว่า “คนในประเทศทั่วไปมีโรคภัยไข้เจ็บ ส่วนมากจะลงไป
อาบแช่ในน้ําและสระหัวบ่อยครั้งเข้าก็จะหายไปเอง แม้กระนั้นก็ยังมีคนที่เป็น
โรคเร้ือนเป็นอันมาก เรียงรายอยู่ท่ัวไปตามถนนหนทาง ชาวพื้นเมืองแม้จะ
กินจะนอนด้วยกับพวกเหล่านั้น เขาก็มิได้ถือเอาเป็นเรื่องเป็นราว มีผู้กล่าวว่า
ภูมิอากาศของเขาทําให้เกิดโรคนี้ขึ้น เคยมีพระเจ้าแผ่นดินที่เป็นโรคนี้ฉะนั้น
ผู้คนจึงไม่ตั้งข้อรังเกียจแต่อย่างใด ตามความเห็นอันต่ําต้อยของข้าพเจ้านั้น
ก็เห็นว่า เนื่องมาจากบุคคลเหล่านั้นเมื่อประกอบกามกรีฑาแล้วก็ด่วนลงไป
อาบน้ําชําระร่างกาย ในทันทีทันใดจึงเป็นโรคนี้กันขึ้น ข้าพเจ้าได้ยินมาว่าชาว
พื้นเมืองนั้นพอเสพเมถุนเสร็จก็ลงไปอาบน้ําชาระกายด ํ ้วยกันทั้งนั้น ผู้ที่เป็น
โรคบิดมักจะตายเสีย 8 ถึง 9 ใน 10 คน”
13 จากบันทึกดังกล่าวทําให้ทราบว่า
ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19 นั้นการรักษาโรคบางประเภทมักจะลงไปแช่น้ํารวม
ในบ่อน้ํา ความเชื่อดังกล่าวอาจได้รับอิทธิพลมาจากสระน้ําร้อน “ตโปทา” ใน
ประเทศอินเดียที่ตั้งอยู่ใกล้กับวัดเวฬุวันที่เป็นสายน้ําแร่ที่ไหลมาจากเวภารบรรพต เชื่อว่าเป็นบ่อน้ําศักดิ์สิทธิ์ของท่านชีวกโกมารภัจจ์แพทย์ประจําองค์
ของพระพุทธเจ้า ผู้ใดที่เจ็บป่วยจะพากันมาอาบน้ําศักดิ์สิทธิ์รักษาโรค มี
ซ้าย : แท่งหินบดยาพบ
ระหว่างขุดแต่งปราสาท
ช่างปี่
ที่มา : ห้างหุ้นส่วนจํากัด
ปุราณรักษ์
ขวา : กระเบื้องดินเผาพบ
ระหว่างขุดแต่งปราสาทขอม
พันนา
ที่มา : กรมศิลปากร
หน้าจั่ว ฉ. 12 2558 | 57
พราหมณ์เป็นผู้ดูแล โดยจะแบ่งพื้นที่บริเวณอาบน้ําออกเป็นระดับชั้นต่างๆ
ลดหล่ันกันไปตามฐานะในสังคมหรือตามวรรณะต่างๆ ต้นน้ําจะเป็นผู้คน
ชั้นสูง น้ําจะไหลจากท่อส่งต่อไปยังช้ันต่อๆ ไปของคนระดับต่ําลงไป14
นอกจากนี้การรักษาพยาบาลด้วยวิธีแผนโบราณจําเป็นต้องมีการใช้น้ําเป็น
ส่วนประกอบที่สําคัญ เช่น การบดยา การใช้น้ําในการต้มยาต่างๆ เป็นต้น
ดังจะเห็นได้ว่าสระน้ําศักด์ิสิทธิ์จะมีการออกแบบเป็นขั้นบันไดโดยรอบ จึง
เหมาะแก่การลงไปแช่และนําน้ํามาใช้ในการรักษาพยาบาลได้อย่างทั่วถึง
นอกจากนี้พ้ืนท่ีตั้งของบ่อน้ําศักดิ์สิทธิ์ในแต่ละพื้นท่ีมักจะหาตําแหน่งพื้นท่ีที่
เป็นตาน้ํา เมื่อขุดเจาะลงไปจะมีน้ําผุดขึ้นมาโดยตลอด จึงเชื่อกันว่าน้ําดังกล่าว
เป็นน้ําที่บริสุทธิ์ที่สามารถนํามาใช้ในการรักษาโรคต่างๆได้
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
ดร. สมัย เหมมั่น ประธารบริหารโครงการ
ตอบลบนาย วินิช ชัชวาลย์ ที่ปรึกษาโครงการด้านเทคนิค
นาย ชัยวุฒิ แสงมณี ที่ปรึกษาโครงการด้านการเงิน
นาย ชิตโชค สิงหรา ที่ปรึกษาโครงการด้านกฎหมาย
สมาคมตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หนองเสือ ที่ปรึกษาปรัชญา
D – HOUSE GROUP กลุ่มนักวิจัยและแผนธุรกิจโครงการ
บริษัท ไทยเพิ่มสุข จำกัด บริหารโครงการ
บริษัท ระนองเพิ่มสุข จำกัด บริหารการก่อสร้าง
บริษัท ไทยซีเนียร์คอมเพล็กซ์ จำกัด บริหารงานก่อสร้าง
บริษัท อุตสาหกรรมเมืองมหาชัยและอสังหาริมทรัพย์ จำกัด บริหารงานนิติบุคคล
และคณะ บริหารร่วมทุนโครงการ
1.พลโท สัมพันธ์ ศรีราชบัวผัน ประธานบริหาร ฝ่ายก่อสร้าง บริษัท ร่วมค้าไทย+จีน
2.นาย อัครพงษ์ วงศ์จินดาโชติ ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์ 3.นส.ธัญญาภัทร์ ปัญญา รองประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท ร่วมค้าไทย+สิงคโปร์
4.นาย มูซา สุนหลัก ประธานบริหาร ฝ่ายการเงินการลงทุน บริษัท กระบี่เพิ่มสุข กรุ๊ป จำกัด